ราคาหมูหน้าฟาร์มลงแล้ว…ทำไมเรายังต้องซื้อหมูแพง?

ราคาหมูหน้าฟาร์มลงแล้ว แต่ทำไมเรายังกินหมูแพง หากเข้าไปดูประกาศของสมาคมผู้เลี้ยงสุกรจะพบว่า ราคาหมูขุนหน้าฟาร์ม ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ซื้อขาย 72-77 บาท/กิโลกรัม [1] ราคาเนื้อแดงหน้าเขียงก็ควรจะอยู่ที่ 144-154 บาท เหตุไฉนราคาที่เราซื้อยังเกิน 160 บาท??? สิ่งที่คนเลี้ยงหมูต้องเผชิญกันจนชินชา   หมูแพงร้องดัง หมูถูกไม่มีใครสนใจ

อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ ระวัง “หนี้”

EatEcon กลับมาอีกครั้ง หลังห่างหายกันไปนาน กลับมาคราวนี้ต้องขอบคุณ Covid-19 ที่ทำให้เราได้ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” จากที่ต้องออกไปทำงานทุกวัน บางสัปดาห์ 7 วัน ไม่มีวันหยุด พอ Covid-19 เริ่มระบาดรุนแรงและเป็นวงกว้าง เราต้องเปลี่ยนบ้านให้เป็นที่ทำงานเหมือนเช่นหลายคน ขณะที่หลายคนต้องหยุดงาน ได้เงินเดือนบ้าง

หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู สุกี้ มีอะไรดี ทำไมเราถึงติดใจ

บางคนหลงรักถึงขนาดไปกินหมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู หรือสุกี้ ทุกสัปดาห์ บางคนไปกินมากกว่าสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง แม้ว่าจะรู้ว่าการกินอาหารจำพวกปิ้งย่างมากไม่ดี แต่ก็หักห้ามใจไม่ได้ บางครั้งเรายอมจ่ายให้กับอาหารที่ไม่ได้อร่อยเลิศเลอ คุณภาพไม่ได้ดีมาก แต่เราให้ค่าความอร่อยมากกว่าความเป็นจริง เพราะอาหารที่เราปรุงเองมีค่าและอร่อยมากกว่าสิ่งที่คนอื่นปรุง หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู สุกี้ เมนูโปรดที่ต้องกินกันหลายคน หากถามว่า หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู

ข้าวพื้นเมืองคืนทุ่ง: ข้าวหอมนครชัยศรี

เมื่อข้าวพื้นเมืองหายไปจากท้องทุ่ง ของดีที่เคยมีถูกลืมเลือน ข้าวหอมนครชัยศรี เป็นหนึ่งในของดีแห่งทุ่งนครชัยศรีที่หายไปเมื่อ 40ปีก่อน อันเป็นผลพวงของการปรับปรุงพันธุ์ข้าวไม่ไวแสงจนเกิดเหตุการที่เรียกว่า‘ตกเขียว’ จนเมื่อสามปีก่อนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโฉนดชุมชนคลองโยง-ลานตากฟ้า ได้เชิญชวนสมาชิกกว่า 20 ชีวิต ร่วมกันอนุรักษ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองเหล่านี้เอาไว้ เพื่อให้ของดีแห่งทุ่งนครชัยศรียังคงอยู่ “ส้มโอหวาน ข้าวสารขาวลูกสาวสวย…” ส่วนหนึ่งของคำขวัญประจำจังหวัดนครปฐม ที่มีมาอย่างยาวนาน… อ่ะ ๆ ขึ้นต้นมาแบบนี้ อย่าเพิ่งคิดว่าเราจะมาพาทัวร์บ้านเกิดเชียวนะ แต่ก็คงไม่ผิด ถ้าสาวงามแห่งนครปฐมอย่างเรา จะภูมิใจในภูมิลำเนาแผ่นดินเกิด…และเรื่องราวที่เราจะนำมาเล่าสู่กันอ่านในสัปดาห์นี้