ฤาว่า…รัฐยินดีที่เห็นคนเลี้ยงหมูขาดทุน?

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจากราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มของไทยที่เคยสูงสุดในภูมิภาคเมื่อปี 2565 ผลผลิตขายเมื่อช่วงปลายปี ณ ราคา 100 บาทต่อกิโลกรัม ยังพอมีกำไรให้คนเลี้ยงหมูไทยได้กลับมาเลี้ยงรอบใหม่ แต่ในช่วงเวลานี้ ราคาหมูไทยกลับต่ำสุดเมื่อเทียบกับรอบบ้าน (ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2566

ยกระดับหมอนทองไทยด้วยการสร้างแบรนด์

คอทุเรียนปีนี้คงได้อิ่มเปรมกับหมอนทองกันไม่น้อยด้วยความเอาจริงเอาจังและตื่นตัวกับการตัดทุเรียนแก่ได้มาตรฐาน เพื่อรักษาคุณภาพหมอนทองไทย  แม้ปัจจุบันไทยยังสามารถครองสัดส่วนตลาดทุเรียนในจีนมากที่สุด แต่ในไม่ช้าผลผลิตทุเรียนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนจะเข้ามาแบ่งเค้กก้อนใหญ่นี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากหมอนทองแล้วปีนี้หลายคนคงได้มีโอกาสลิ้มลองทุเรียนก้านยาว พวงมณี หรือแม้แต่พันธุ์มูซันคิง โอฉี หนามดำ ทุเรียนชื่อดังของมาเลเซียที่ขายได้ราคาในตลาดจีน แต่ปัจจุบันผลผลิตในไทยเริ่มออกมาเช่นกันด้วยเหตุที่มีผู้ประกอบการและบริษัทที่ปรึกษาทางการเกษตรขยายพื้นที่การปลูกทุเรียนพันธุ์เหล่านี้ในหลายพื้นที่ของไทย ตัวผู้เขียนได้มีโอกาสทดลองชิมพันธุ์มูซันคิง หากเทียบกับหลากหลายสายพันธุ์ที่ได้ลิ้มลอง ความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนนั้นคิดว่า ในเรื่องของรสชาติ เนื้อสัมผัส กลิ่นหอมที่มีเสน่ห์ของทุเรียนสายพันธุ์ของไทยอย่าง กบพิกุล กบชายน้ำ เหนือกว่า

ปั้นทุเรียนเบญจพรรณ ให้เป็น ทุเรียนขั้นเทพ (Divine durian)

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้วยนิสัยอยากรู้อยากลองทำให้ปีนี้ผู้เขียนได้มีโอกาสลองชิมทุเรียนหลายพันธุ์ จากหลายสวน ได้แก่ หมองทองจาก 7 สวน ก้านยาว 5 สวน เม็ดในยายปราง 3 สวน กบสุรรรณ 2 สวน นอกจากนี้ยังมี กบชายน้ำ กบพิกุล นกหยิบ ทองกมล

ฝากรัฐบาลชุดใหม่…โปรดช่วยต่อลมหายใจชาวหมูรายย่อย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดช่วงหน้าร้อนนี้ความหวังว่าราคาหมูหน้าฟาร์มจะดีขึ้นบ้างคงหมดหวัง สถานการณ์ตอนนี้ของชาวหมูเรียกได้ว่า “น้ำตาตก” เนื่องจากราคาขายหมูหน้าฟาร์มอ้างอิงเขตภาคตะวันตกอยู่ที่ 70 บาท/กก. ไม่ได้สะท้อนถึงต้นทุนการผลิตที่คงตัวในระดับสูงกว่า 90 บาท/กิโลกรัม แต่ก็ยังดีที่แนวโน้มต้นทุนที่เริ่มลดลง (ภาพที่ 1) ผลของการปล่อยให้มีการลักลอบนำเข้าหมูเถื่อน ทางสมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ

น้ำตาลหญ้าหวาน น้ำตาลหล่อฮั่งก้วย ดีจริง หรือคุณหลอกดาว

ผลการวิจัยล่าสุดของ Witkowski และคณะ พบว่า กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานมีอาการภาวะของหัวใจวายและหลอดเลือดสมอง (stroke) มักมีระดับ erythritol ในเลือดสูง ซึ่งผลการทดลองในสัตว์ยังพบอีกว่า เจ้า erythritol ทำให้เกล็ดเลือดจับตัวเป็นก้อนได้ง่ายขึ้น แถมเจ้าลิ่มเลือดนี้ยังแตกตัวออกขณะไหลไปยังหัวใจทำให้เกิดภาวะหัวใจวายหรือหลอดเลือดสมองแตกได้ [1] เมื่อพบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง erythritol กับโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ทีมวิจัยได้ศึกษาเพิ่มเติมในอาสาสมัครแปดราย กิน

หมูหลุม…หนึ่งทางรอดของเกษตรกรรายย่อย

โดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ผ่านมา ได้มีกฎกระทรวงออกมาบังคับการทำมาตรฐานฟาร์มหมู GAP (การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551)โดยกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้กับฟาร์มหมูขนาดกลางและขนาดใหญ่ แม้ว่าผู้เลี้ยงจะทราบดีถึงการบังคับทำมาตรฐานฟาร์ม GAP ก่อนหน้านี้กรมปศุสัตว์ก็เดินหน้ามาตรฐานฟาร์มมาพักใหญ่

สารเร่งเนื้อแดง หอกข้างแคร่กรมปศุสัตว์

โดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานการณ์ตลาดโคขุนไทยต้องมาชะงักอีกครั้ง หลังเวียดนามระงับนำเข้าโคขุนของไทยเพราะตรวจเจอสารเร่งเนื้อแดง สารต้องห้ามที่กฎหมายไทยไม่อนุญาต !!! สารเร่งเนื้อแดง เป็นสารสังเคราะห์ในกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ (beta-agonist) เช่น แรคโตพามีน (ractopamine) zilmax และ optaflexx เป็นต้น

รัฐต้องทำอะไรเพื่อช่วยคนเลี้ยงหมูให้รอดในปี 2566

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานการณ์คนเลี้ยงหมูปี 2566 ไม่สู้ดีนัก เนื่องจากวัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงมาก ปัจจุบันกากถั่วเหลือง 23.40 บาท/กก. ข้าวโพดหน้าโรงงาน 13.40 บาท/กก. (ชาวไร่ข้าวโพดขายได้ 9.50 บาท/กก.) ปลายข้าว

เทคโนโลยีแม่นยำ: ทางรอดของผู้เลี้ยงโคนมไทย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลพวงจากสงครามและเงินเฟ้อทำให้ต้นทุนการผลิตน้ำนมดิบเพิ่มสูงขึ้น จนทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมหลายรายแบกรับต้นทุนไม่ไหวตัดสินใจเลิกอาชีพในที่สุด จากหน้าสื่อปริมาณการผลิตน้ำนมโคในปี 2565 ในภาพรวมเฉลี่ยลดลง 127 ตัน/วัน เมื่อเทียบกับปี 25641  แต่โดยสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงขณะนี้ มีจำนวนฟาร์มที่เลิกเลี้ยงเป็นจำนวนมาก ปริมาณน้ำนมลดลงมากกว่า 700 ตัน/วัน

กรมปศุสัตว์: ผู้ชี้ชะตาชาวหมูรายย่อยไทย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับแต่วันที่มีการประกาศการระบาดของโรคแอฟริกันอหิวาต์ในสุกรเมื่อเดือนมกราคม 2565 ล่วงเลยมาจนถึงตอนนี้ก็ 11 เดือนแล้ว สถานการณ์หมูไทยเป็นอย่างไรบ้าง ราคาหมูจะลดลงหรือยัง เกษตรกรรายย่อยจะกลับมาได้หรือไม่ กลับมาได้อย่างไร เหล่านี้ล้วนเป็นคำถามที่ผู้เขียนถูกถามเสมอเรื่อยมา ในมุมมองของผู้เขียนเองคาดว่า… สถานการณ์การผลิตหมูของไทยในปี 2566 จะดีขึ้น