อยากกินแพง แต่เสียดายเงิน จะทำยังไงดี

เมื่อเอ่ยถึงภาวะเศรษฐกิจช่วงนี้ ทุกคนลงความเห็นเหมือนกันว่า ‘แย่’ ประชาชนคนไทยระมัดระวังในการใช้จ่าย แม้ว่ารัฐจะกระตุ้นด้วยมาตรการ “ชิม ช็อป ใช้” แจกเงินให้ใช้กันฟรี ๆ คนละ 1,000 บาท แถมมีกระเป๋าสองถ้าอยากจ่ายเงินแล้วได้เงินคืน  ในมุมของเรา นโยบายไม่น่าจะกระตุ้นเศรษฐกิจได้ดังหวัง เพราะข้อจำกัดเยอะสุด ๆ กว่าจะแย่งกันลงทะเบียนได้ ก็อดตาหลับขับตานอน

จะดีแค่ไหน… ถ้าเครื่องดื่มหวานน้อยถูกกว่าสูตรหวานปกติ?

เมื่อเดินไปโซนเครื่องดื่มที่มีน้ำหวานวางเรียงรายแน่นขนัดในในร้านสะดวกซื้อ หรือซุปเปอร์มาร์เก็ต เพื่อน ๆ สังเกตเห็นอะไร? : สิ่งที่เราเห็นคือ ราคาน้ำอดลมจะถูกตั้งราคาเสมือนอยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คือ มีราคาเดียว หรือไม่ก็ต่างกันเพียง 1 บาท  เรียกได้ว่าตั้งราคาแบบที่คนซื้อเลือกด้วยความชอบโดยไม่ต้องในใจเรื่องราคา แต่…อย่าลืมเหลียวมองดูปริมาณกันสักนิดว่าแต่ละเจ้าชิงไหวชิงพริบกันอย่างไร เมื่อกวาดตามองราคาทุกรายการที่วางเรียงราย ก็เกิดคำถามขึ้นมาว่า…  ถ้าน้ำอัดลมสูตรไม่ใส่น้ำตาลราคาถูกกว่าสูตรปกติ คนจะหันมาดื่มสูตรไม่มีน้ำตาลเพิ่มขึ้นหรือไม่? แล้ว..ถ้าเป็นเครื่องดื่มแบบอื่นหากลดราคาให้สำหรับคนที่สั่งหวานน้อย จะสามารถจูงใจลูกค้าได้มากแค่ไหน

ฤา…เราเลือกที่จะไม่ฟัง

เรามักจะอยากได้ยินในสิ่งที่เราอยาก และหลีกเลี่ยงการได้ยินในสิ่งที่เราไม่อยากจะได้ยิน การเลือกทั้งสองยินทั้งสองแบบเป็นอคติทางด้านความคิด (Cognitive bias) ที่เราเคยชิน  การเลือกได้ยิน รับรู้ และเชื่อในสิ่งที่เราชอบหรือสนใจ เรียกว่า Confirmation bias ขณะที่การเลือกที่จะไม่ได้ยิน ไม่รับรู้ และไม่เชื่อ ในสิ่งที่เราไม่ชอบหรือไม่สนใจ เรียกว่า Information avoidance การเลือกแบบแรกทำให้เรามั่นใจ

สเน่ห์ของความไม่สมบูรณ์แบบ

การยืดอก ‘ยอมรับความผิดพลาด’ คือ การแสดงความจริงใจ และสื่อถึงความน่าเชื่อถือ แสดงถึงความไม่สมบูรณ์แบบที่ทำให้เรามีความเป็นมนุษย์มากขึ้น มีความน่าดึงดูด เข้าถึงง่าย และเป็นธรรมชาติ ทางจิตวิทยาเรียกปรากฏการนี้ว่า The Pratfall Effect นี่ช่วยอธิบายได้อย่างดีว่าทำไมคนที่ทำอะไรโก๊ะ ๆ ดูมีสเน่ห์ ไม่มีพิษมีภัย น่าคบหา  ปัญหาหนึ่งของมนุษย์จำพวกสมบูรณ์แบบ (Perfectionist)

ข้ออ้างของการตามใจปาก

เมื่อเราอยากกิน เรามักจะหาข้ออ้างมาสนับสนุนการกินของเราได้เสมอ  ‘รู้อยู่แก่ใจว่าไม่ดี แต่มันอดไม่ได้’ ———————————————————————————————————— ทุกคนอยากหุ่นดี ใส่เสื้อผ้าได้ทุกแบบด้วยความมั่นใจ มีสุขภาพแข็งแรง คงไม่มีใครอยากป่วย แต่ความอยากเหล่านี้มันคงเป็นที่ความฝันที่เลือนลาง เมื่อเรายังหาเหตุผลของการกินตามใจปากได้ทุกครั้ง การหาเหตุผลต่าง ๆ นานามาสนับสนุนการกินที่เกินพอดี แบบนี้ในทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเรียกว่า ความลำเอียงเพื่อยืนยัน หรือ Confirmation bias  ขอยกตัวอย่างง่าย

สิ่งที่เป็นอยู่ก็ดีอยู่แล้ว กับดักสำคัญที่ฉุดรั้งการเปลี่ยนแปลง

สวัสดีปีใหม่ค่ะเพื่อนๆ และคุณผู้อ่านทุกท่าน ผ่านพ้นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองกันมาแล้ว แต่ละคนเป็นอย่างไรกันบ้าง ได้มีโอกาสเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ หรือเปิดโอกาสตัวเองให้สิ่งดีๆ ได้ก้าวเข้ามาในชีวิตเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่าชีวิตเดิมๆ เมื่อปีที่ผ่านมากันบ้างรึยัง  ก่อนสิ้นปี EatEcon ได้นำเสนอเรื่องราวของการพาชีวิตหลุดพ้นจากกับดัก “ต้นทุนจม” เพื่อเป็นแนวคิดในการเตรียมวางแผนรับปีใหม่ที่จะมาถึง…เช่นเดิมค่ะ เพื่อความต่อเนื่องและเปิดปฐมฤกษ์ของปีใหม่ทั้งที EatEcon ก็ไม่พลาดที่จะมานำเสนอบทความดีๆ เสิร์ฟให้ผู้อ่าน หลายคนคงเคยได้ยินหรือได้อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ Status Quo Bias กันมาบ้าง หรือใครที่ไม่แน่ใจว่ามันคืออะไร บทความแรกของปี 2562 นี้ EatEcon จะขันอาสาพาทุกคนไปทำความรู้จักกับนิยามคำนี้

ต้นทุนจม… กับดักและเหตุผลวิบัติที่เราต้องเท่าทัน

เราจ่ายไปเยอะแล้ว… เราลงทุนไปเยอะแล้ว… เราเดินมาไกลมากแล้ว… เราทำมาตั้งนาน กว่าจะมาถึงวันนี้ แล้วเราก็มาจบที่ …รู้งี้… คำพูดเหล่านี้เกิดขึ้นกับเราเสมอ เมื่อเราให้ค่ากับ “ต้นทุนจม” มากเกินไป คุณอ่านไม่ผิดหรอกค่ะ “ต้นทุนจม” อย่างแท้จริง ต้นทุนตัวนี้สำคัญมากนะ ไม่เฉพาะสำหรับนักลงทุน หรือนักธุรกิจ แต่มันมีอยู่จริงในชีวิตเราทุกคน ซึ่งแต่ละคนจะทุกข์ร้อนกับมันมากแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับการให้ค่าความสำคัญ แต่ผู้คนส่วนหนึ่งก็เจ็บหนัก