โพรไบโอติกส์ ช่วยคุณได้ แต่บางครั้งมันก็ไม่ใช่

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและการใช้ชีวิตยังคงเป็นปัจจัยแรกหากเราต้องการจะแก้ปัญหาเรื่อง ‘อ้วน’ หรือน้ำหนักตัวที่ไม่พึงประสงค์ แต่บางครั้งเราปรับการกินแล้ว ออกกำลังกายก็แล้ว สุดท้ายน้ำหนักก็ไม่ได้ลดลงหรือดีไม่ดี เพิ่มขึ้นมาให้เจ็บใจอีกต่างหาก  หลายคนรับประทานโยเกิร์ต เพื่อสุขภาพ หลายยี่ห้อมีคำโตๆ ว่า “โพรไบโอติกส์” (Probiotics) เพื่อบอกว่าโยเกิร์ตกระปุกนี้มีอะไรดี ‘โพรไบโอติกส์’ หรือจุลินทรีย์มีชีวิตที่ช่วยให้ระบบย่อยในสำไส้เราทำงานได้ดี แต่ก็ไม่ใช่กับทุกคน!!! มีงานวิจัยพบว่า คนที่กินยาปฏิชีวนะอยู่ไม่ควรกินโพรไบโอติก เพราะจุลินทรีย์นี้จะขยายตัวอย่างรวดเร็วจนไปแทนที่แบคทีเรียอื่น

อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ ระวัง “หนี้”

EatEcon กลับมาอีกครั้ง หลังห่างหายกันไปนาน กลับมาคราวนี้ต้องขอบคุณ Covid-19 ที่ทำให้เราได้ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” จากที่ต้องออกไปทำงานทุกวัน บางสัปดาห์ 7 วัน ไม่มีวันหยุด พอ Covid-19 เริ่มระบาดรุนแรงและเป็นวงกว้าง เราต้องเปลี่ยนบ้านให้เป็นที่ทำงานเหมือนเช่นหลายคน ขณะที่หลายคนต้องหยุดงาน ได้เงินเดือนบ้าง

ระบบอาหารที่ซ่อนอยู่ในส้มตำจานเด็ด

เมื่อสัปดาห์ก่อนเราซื้อหนังสือมาเล่มหนึ่งชื่อ ไกด์… ไม่ไร้สาระ สู่…อาหารโลก แปลมาจาก The No-Nonsense Guide to World Food เขียนโดย Wayne Roberts  หนังสือแปลเล่มนี้แปลมาจากฉบับปรับปรุงที่ตีพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 ผู้เขียนเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนที่เกิดขึ้นในช่วงปี 2008 – 2013

จะดีแค่ไหน… ถ้าเครื่องดื่มหวานน้อยถูกกว่าสูตรหวานปกติ?

เมื่อเดินไปโซนเครื่องดื่มที่มีน้ำหวานวางเรียงรายแน่นขนัดในในร้านสะดวกซื้อ หรือซุปเปอร์มาร์เก็ต เพื่อน ๆ สังเกตเห็นอะไร? : สิ่งที่เราเห็นคือ ราคาน้ำอดลมจะถูกตั้งราคาเสมือนอยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คือ มีราคาเดียว หรือไม่ก็ต่างกันเพียง 1 บาท  เรียกได้ว่าตั้งราคาแบบที่คนซื้อเลือกด้วยความชอบโดยไม่ต้องในใจเรื่องราคา แต่…อย่าลืมเหลียวมองดูปริมาณกันสักนิดว่าแต่ละเจ้าชิงไหวชิงพริบกันอย่างไร เมื่อกวาดตามองราคาทุกรายการที่วางเรียงราย ก็เกิดคำถามขึ้นมาว่า…  ถ้าน้ำอัดลมสูตรไม่ใส่น้ำตาลราคาถูกกว่าสูตรปกติ คนจะหันมาดื่มสูตรไม่มีน้ำตาลเพิ่มขึ้นหรือไม่? แล้ว..ถ้าเป็นเครื่องดื่มแบบอื่นหากลดราคาให้สำหรับคนที่สั่งหวานน้อย จะสามารถจูงใจลูกค้าได้มากแค่ไหน

ถึงเวลา…กิน & เที่ยว ช่วยชาติ

เมื่อถามถึงเรื่องภาวะเศรษฐกิจ ทุกคนบ่นเป็นเสียงเดียวกันว่า ‘ไม่ดี’ ข้อมูลล่าสุดจากสหรัฐอเมริกาเมื่อคืนวันพุธที่ผ่านมา เรื่องอัตราดอกเบี้ยพันธบัตร 10 ปีที่ตกลงมาจนน้อยกว่าอัตราดอกเบี้ยพันธบัตร 2 ปี เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปี ทำให้เส้นโค้งอัตราดอกเบี้ยพลิกกลับเรียกว่า Inverted Yield Curve [1] เหตุการณ์นี้เหมือนเดจาวู เพราะงานวิจัยจากเฟดนิวยอร์ค ปี

พัก คือ พัก: Work Life Balance

สำหรับคนที่ทำงานตลอดเวลาบางครั้งเรากลับรู้สึกผิดที่เราไปเที่ยวทั่งที่งานยังไม่เสร็จ ในหัวคิดเรื่องานตลอดเวลา อยากจะหยุดคิดแต่สมองไม่ยอมหยุด จนรู้ตัวว่าภาวะเครียดเริ่มก่อตัว คงต้องหยุดพัก แบบ พัก คือ พัก เป็นจังหวะพอดีที่ได้วันหยุดมา 3 วัน ช่วงเวลาของวันหยุด 3 วันที่ผ่านมาทำให้เราได้ หยุด พัก และวางงานไว้ได้ ต้องขอบคุณหนังสือ Work

ฤา…เราเลือกที่จะไม่ฟัง

เรามักจะอยากได้ยินในสิ่งที่เราอยาก และหลีกเลี่ยงการได้ยินในสิ่งที่เราไม่อยากจะได้ยิน การเลือกทั้งสองยินทั้งสองแบบเป็นอคติทางด้านความคิด (Cognitive bias) ที่เราเคยชิน  การเลือกได้ยิน รับรู้ และเชื่อในสิ่งที่เราชอบหรือสนใจ เรียกว่า Confirmation bias ขณะที่การเลือกที่จะไม่ได้ยิน ไม่รับรู้ และไม่เชื่อ ในสิ่งที่เราไม่ชอบหรือไม่สนใจ เรียกว่า Information avoidance การเลือกแบบแรกทำให้เรามั่นใจ

กินข้าวอย่างไรไม่ให้อ้วน ตอนที่ 3

ผ่านไปสองตอนก่อนหน้ากับซีรี่ย์กินข้าวอย่างไรไม่ให้อ้วน เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาเราได้อ่านบทความของ CNN Travel ยกให้ร้านอาหารข้างทาง (Street Food) เป็นอันดับ 8 ของวัฒนธรรมอาหารที่ดีที่สุด [1] ถามว่าทำไม? CNN travel ให้เหตุผลว่า อาหารไทยในหนึ่งจานน่าดึงดูด เพราะมีสมุนไทยและเครื่องเทศหลากหลาย มีรสชาติที่ซับซ้อน เปรียบเหมือนกำลังฟังเพลงออเคสตรา ในหนึ่งจานมีรสเผ็ด

กินข้าวอย่างไร ไม่ให้อ้วน ตอนที่ 2

จากบทความตอนที่ 1 เล่าถึงวิธีการกินข้าวและเลือกข้าวที่ช่วยเรากินข้าวแล้วไม่อ้วน ตอนนี้เราจะขอเล่าเทคนิคอย่างง่าย ๆ แถมมีงานวิจัยรองรับ มาเล่าสู่กันฟัง วิธีแรก ลดขนาดจานและชาม ศาสตาจารย์ Brian Wansink แห่ง Cornell University ได้ออกแบบการทดลองด้านพฤติกรรมการรับประทานขึ้นมา 4 การทดลอง เพื่อที่จะยืนยันว่า ภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่กระตุ้นให้เรา