ฤาจะเข้ายุคข้าวยากหมากแพง

จากข้อมูลราคาปุ๋ยฟอสเฟตและยูเรียที่เพิ่มขึ้นมาต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะอยู่ในระดับสูงในช่วงที่เหลือของปี 2564 และยิงยาวไปถึงปีหน้า 2565 เป็นหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ต้นทุนการผลิตพืชอาหารทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แปรปรวน สถานการณ์น้ำท่วมในหลายประเทศ ล้วนเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า แนวโน้มราคาอาหารจะเพิ่มสูงขึ้น อัตราเงินเฟ้อของอาหารทั่วโลกจะกลายเป็นหนามทิ่มแทงรัฐบาลทุกประเทศ ภาพที่ 1 ราคาปุ๋ยฟอสเฟต ยูเรีย และโพแทส ช่วงปี 2018 –

ทางแยกของการตัดสินใจ

โดย สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   ข่าวฟาร์มหมูรายกลางและรายย่อยโซนภาคกลางแถว ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี นครนายก หรือสุโขทัย แทขายหมูยกฟาร์มหลักจากเกิดการระบาดของโรคโดยไม่มีการรายงานว่าเป็นเชื้อชนิดใด ซึ่งผู้เขียนคาดว่าจะเป็นกลุ่มเชื้อไวรัสเนื่องจากระบาดเร็วและรุนแรง ดังเช่นการระบาดของเชื้อไวรัสอหิวาต์แฟริกาที่ทำลายจำนวนสุกรไปหลายล้านตัวในหลายประเทศไม่ว่าจะเป็นจีน เวียดนาม หรือกัมพูชา อย่างไรก็ดีปัจจุบันยังไม่มีการระบาดของเชื้อไวรัสตัวนี้จากกรมปศุสัตว์ไทย

เรื่องด่วนที่สุด ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2565 พาณิชย์อนุญาตให้นำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งควรด่วนเมื่อมกราคม 2565

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2565 คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และวัตถุดิบทดแทน (ข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์) อนุญาตให้ บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด นำเข้าข้าวสาลีจำนวน 710.62 ตัน จากเป้าหมายการนำเข้าที่กำหนดไว้ที่ 1.2 ล้านตัน ซึ่งหลังจากนี้คงมีหลายบริษัททยอยขออนุญาตนำเข้าเพิ่มเติมโดยต้องไม่เกินวันที่ 31 กรกฎาคม

อ้างทำเพื่อประชาชน เหตุซ้ำทำของแพง

เรื่องโดย ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ประกอบการบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปขอปรับขึ้นราคาจนกลายเป็นข่าวร้อนในหน้าสื่อ ซึ่งนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า เรื่องบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปขึ้นราคานั้น กระทรวงยังไม่มีการอนุมัติให้ปรับราคาขึ้นและตามที่เป็นข่าว ตัวผู้เขียนเชื่อว่าผู้ผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปพยายามขอปรับขึ้นราคามาหลายรอบแต่ไม่สำเร็จ ดังเช่นเรื่องอาหารสัตว์ กระทรวงพาณิชย์กำลังซื้อเวลาโดยการประกาศตรึงราคาสินค้า 18 หมวด (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป อาหารสด

อากาศแปรปรวนเด้ง 4 เหตุต้นทุนหมูแพง ขอผู้บริโภคโปรดเห็นใจ

เรื่องโดย ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2565 คณะอนุกรรมการต้นทุน Pig Board รายงานต้นทุนการผลิตสุกรขุน 98.81 บาท/กก. นับว่าเป็นต้นทุนการผลิตสุกรขุนที่สูงเป็นประวัติการณ์เรียกได้ว่าฟาร์มต้องคุมขมับ เพราะราคาสุกรขุนหน้าฟาร์มมีชีวิตตามประกาศของสมาคมฯ คือ 96-98

ยุคข้าวยากหมากแพงกำลังจะรุนแรงขึ้น

จากรายงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) พบว่า ในปี 2562 ประชากรของโลกประมาณ 135 ล้านคน เข้าสู่ภาวะอดอยาก และข้อมูลจากโครงการอาหารของโลกแห่งสหประชาชาติ (World

เรื่องกล้วย ๆ

24 มีนาคม 2565  ตื่นเช้ามา…หยิบมือถื…เปิดเฟสบุค…เจอโพสต์ของกรรมกรข่าว “ยุค กล้วยน้ำว้า ถูกมากๆ ครับ… กล้วยน้ำว้า ถูกมาก ซื้อจากสวนหวีละ 3 บาท วางขายหวีละ 5 บาท ที่บริเวณตลาดเกษตรสุวพันธ์ จ.อ่างทอง …” คิดในใจ

ทางออกหมูแพง “ผู้ผลิตอยู่รอด ผู้บริโภคอยู่ได้

ทางออกหมูแพงที่ “ผู้ผลิตอยู่รอด ผู้บริโภคอยู่ได้” โดย สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัญหาโรคระบาดไวรัส ASF บานปลายจนทำให้ปริมาณหมูไทยลดลงจาก 20 ล้านตัว เหลือ 12.5 ล้านตัว หรืออาจจะมากกว่านั้น เพราะมีการคาดการณ์ว่าความเสียหาย ณ

Specialty durian ทางออกของทุเรียนไทย

เรื่องโดย สุวรรณา สายรวมญาติ ทุเรียนเป็นหนึ่งในสินค้าที่เป็นกลุ่มไม่รักก็เกลียดเลย (Like it or hate it) แต่ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และอิทธิพลของแพลตฟอร์มออนไลน์ทั้ง E-commerce และสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ทำให้กลุ่มเกลียดเลยมีแนวโน้มสัดส่วนลดลง ความคลั่งไคล้ของผู้ชื่นชอบทุเรียนได้ส่งผ่านไปยังสื่อสังคมออนไลน์กระตุ้นการบริโภคทุเรียนได้อย่างมหาศาล ปัจจุบันตลาดผู้บริโภคทุเรียนที่ใหญ่ที่สุดคงหนีไม่พ้นพี่จีน แม้ในอดีตทุเรียนจะเป็นผลไม้ที่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ แต่ปัจจุบันความรู้สึกของผู้บริโภคชาวจีนได้เปลี่ยนไปกลายเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยม การบริโภคทุเรียนกลายเป็นภาพลักษณ์ทางสังคม นิยมซื้อเป็นของฝากให้ญาติสนิทมิตรสหาย เอาแค่ช่วงสั้น ๆ เช่น

มันเป็นสามชั้น ไม่ใช่เบคอน

A: ใครสั่งหมูสามชั้น B: ไม่ได้สั่ง สั่งแต่เบคอน A: เบคอนตรงไหน นี่มันสามชั้นชัดๆ  B: ก็ในเมนูเขียนว่า ‘เบคอน’  A: …  หมูสามชั้น คือ ส่วนที่นิยมแปรรูปเป็น ‘เบคอน’ แต่…เบคอนไม่ใช่หมูสามชั้น เราสามารถนำชิ้นส่วนเนื้อส่วนอื่นของหมูมาทำเบคอนได้เช่นกัน ถามว่าเบคอนคืออะไร?